ใบงานที่ 6 Scanner
ใบงานที่ 6
Scanner
สแกนเนอร์ คืออุปกรณ์ซึ่งจับภาพและเปลี่ยนแปลงภาพจากรูปแบบของแอนาลอกเป็นดิจิตอลซึ่งคอมพิวเตอร์ สามารถแสดง, เรียบเรียง, เก็บรักษาและผลิตออกมาได้ ภาพนั้นอาจจะเป็นรูปถ่าย, ข้อความ, ภาพวาด หรือแม้แต่วัตถุสามมิติ สามารถใช้สแกนเนอร์ทำงานต่างๆได้ดังนี้
- ในงานเกี่ยวกับงานศิลปะหรือภาพถ่ายในเอกสาร
- บันทึกข้อมูลลงในเวิร์ดโปรเซสเซอร์
- แฟ็กเอกสาร ภายใต้ดาต้าเบส และ เวิร์ดโปรเซสเซอร์
- เพิ่มเติมภาพและจินตนาการต่าง ๆ ลงไปในผลิตภัณฑ์สื่อโฆษณาต่าง ๆ
โดยพื้นฐานการทำงานของสแกนเนอร์, ชนิดของสแกนเนอร์ และความสามารถในการทำงานของสแกนเนอร์แบ่งออกได้ดังต่อไปนี้
โดยพื้นฐานการทำงานของสแกนเนอร์, ชนิดของสแกนเนอร์ และความสามารถในการทำงานของสแกนเนอร์แบ่งออกได้ดังต่อไปนี้
ชนิดของเครื่องสแกนเนอร์
สแกนเนอร์สามารถจัดแบ่งตามลักษณะทั่วๆ ไป ได้ 2 ชนิด คือ
Flatbed scanners,
ซึ่งใช้สแกนภาพถ่ายหรือภาพพิมพ์ต่าง ๆ สแกนเนอร์
ชนิดนี้มีพื้นผิวแก้วบนโลหะที่เป็นตัวสแกน เช่น ScanMaker III Transparency
and slide scanners, ซึ่งถูกใช้สแกนโลหะโปร่ง เช่น ฟิล์มและ สไลด์
การทำงานของสแกนเนอร์
1. เทคนิคการสแกนภาพ
- สแกนเนอร์สีแบบสแกนผ่านครั้งเดียว ( One-Pass Scanners)
- สแกนเนอร์สีแบบสแกนผ่านสามครั้ง ( Three-Pass Color Scanners)
2. เทคโนโลยีการสแกนภาพ
- แบบ PMT (Photomultiplier Tube)
- แบบ CCD (Charge-Coupled Deiver)
- แบบ CIS (Contact Image Sensor)
3. การบันทึกข้อมูล
- รูปแบบของข้อมูลภาพ (Image Data Type)
- ภาพขาวดำ (Black & White)
- ภาพสีเทา (Grayscale)
- ภาพ 16 และ 256 สีที่ได้กำหนดไว้แล้วในตารางสี ( Indexed 16 and 256-Color)
- ภาพ RGBสีจริง (RGB True Color)
- ภาพ 8 สี (RGB 8-Color)
- ตัวหนังสือ
- รูปแบบของไฟล์รูปภาพมาตรฐาน
4. การทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
- ขนาดของไฟล์ภาพและความคมชัด
- ตั้งค่า Resolution ให้เหมาะสมกับการใช้งาน
- ขนาดของไฟล์ที่สแกนได้
- เฉดสีหลากหลาย
1. เทคนิคการสแกนภาพ
- สแกนเนอร์สีแบบสแกนผ่านครั้งเดียว ( One-Pass Scanners)
- สแกนเนอร์สีแบบสแกนผ่านสามครั้ง ( Three-Pass Color Scanners)
2. เทคโนโลยีการสแกนภาพ
- แบบ PMT (Photomultiplier Tube)
- แบบ CCD (Charge-Coupled Deiver)
- แบบ CIS (Contact Image Sensor)
3. การบันทึกข้อมูล
- รูปแบบของข้อมูลภาพ (Image Data Type)
- ภาพขาวดำ (Black & White)
- ภาพสีเทา (Grayscale)
- ภาพ 16 และ 256 สีที่ได้กำหนดไว้แล้วในตารางสี ( Indexed 16 and 256-Color)
- ภาพ RGBสีจริง (RGB True Color)
- ภาพ 8 สี (RGB 8-Color)
- ตัวหนังสือ
- รูปแบบของไฟล์รูปภาพมาตรฐาน
4. การทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
- ขนาดของไฟล์ภาพและความคมชัด
- ตั้งค่า Resolution ให้เหมาะสมกับการใช้งาน
- ขนาดของไฟล์ที่สแกนได้
- เฉดสีหลากหลาย
การจับภาพของสแกนเนอร์
ทำโดยฉายแสงบนเอกสารที่จะสแกน แสงจะผ่านกลับไปมาและภาพ
จะถูกจับโดยเซลล์ที่ไวต่อแสง เรียกว่า charge-couple device หรือ CCD
ซึ่งโดยปกติพื้นที่มืดบน
กระดาษจะสะท้อนแสงได้น้อยและพื้นที่ที่สว่างบนกระดาษจะสะท้อนแสงได้มากกว่า
CCD จะสืบหาปริมาณแสงที่สะท้อนกลับจากแต่ละพื้นที่ของภาพนั้น
และเปลี่ยนคลื่นของแสงที่สะท้อน กลับมาเป็นข้อมูลดิจิตอล
หลังจากนั้นซอฟต์แวร์ที่ใช้สำหรับการสแกนภาพก็จะแปลงเอาสัญญาณเหล่านั้นกลับมาเป็นภาพ
บนคอมพิวเตอร์อีกทีหนึ่ง
สแกนเนอร์ บาร์โค้ด
หลักการทำงานของเครื่องอ่านบาร์โค้ด
1. แหล่งกำเนิดแสงของเครื่องอ่านจะฉายแสงลงบนแท่งบาร์โค้ด กวาดแสงอ่านผ่านแท่งบาร์โค้ด การอ่านรหัสแถบบาร์โค้ด โดยทั่วไปนิยมใช้แสงอินฟราเรดอ่านแถบขาวสลับดำ ลำแสงที่ปล่อยออกมาจากหัวอ่านจะสะท้อนกลับจากพื้นสว่างได้มากกว่าพื้นมืด แสงสะท้อนกลับมาจากแท่งบาร์โค้ดมายังตัวรับแสง
2. ภายในเครื่องอ่านจะมีอุปกรณ์เปลี่ยนแสงที่สะท้อนกลับมาให้กลายเป็นสัญญาณดิจิตอล ซึ่งนำมาเปรียบเทียบกับตารางบาร์โค้ดเพื่อถอดเป็นข้อมูล เช่น ตัวเลข ตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ ซึ่งระบุชื่อสินค้าและอื่น ๆ จากนั้นจะบันทึกข้อมูลในคอมพิวเตอร์โดยตรง โดยไม่ต้องกดปุ่มที่แป้นพิมพ์ สามารถอ่านข้อมูลอย่างถูกต้องแม่นยำและเชื่อถือได้
3. ระบบการอ่านบาร์โค้ดแสดงผลทั้งการอ่านข้อมูลตามปกติ และการตรวจสอบความถูกต้องของแท่งบาร์โค้ด สำหรับขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้อง หากพบข้อผิดพลาดโปรแกรมจะทำการแก้ไขและอ่านบาร์โค้ดใหม่อีกครั้ง มีความสะดวกในการจัดเก็บข้อมูล ตรวจสอบและประมวลได้อย่างแม่นยำมากขึ้น
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับรหัสแท่งมีส่วนสำคัญเพื่อให้ใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ เพราะการอ่านข้อมูลที่อาศัยหลักการสะท้อนแสงย่อมมีข้อจำกัดเหมือนกัน เครื่องอ่านบาร์โค้ดทำให้ระบบเก็บบันทึกและบริหารจัดการข้อมูลแบบอัตโนมัติ ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการทำงาน ผู้ใช้ควรระวังไม่ใช้งานในพื้นที่เปียกชื้น เพราะความชื้นมีผลให้การอ่านข้อมูลผิดพลาด หากวัตถุที่ติดฉลากบาร์โค้ดเคลื่อนที่รวดเร็วจะทำให้อ่านข้อมูลได้ยากเช่นกัน หรือถ้ามีวัตถุสิ่งอื่นปิดบังแถบบาร์โค้ดจะทำให้อ่านข้อมูลไม่ได้ ระบบบาร์โค้ดเป็นมาตรฐานสากล มีความน่าเชื่อถือ หากใช้ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมจะอำนวยความสะดวกและเกิดประโยชน์แก่ผู้ใช้งานมากที่สุด
1. แหล่งกำเนิดแสงของเครื่องอ่านจะฉายแสงลงบนแท่งบาร์โค้ด กวาดแสงอ่านผ่านแท่งบาร์โค้ด การอ่านรหัสแถบบาร์โค้ด โดยทั่วไปนิยมใช้แสงอินฟราเรดอ่านแถบขาวสลับดำ ลำแสงที่ปล่อยออกมาจากหัวอ่านจะสะท้อนกลับจากพื้นสว่างได้มากกว่าพื้นมืด แสงสะท้อนกลับมาจากแท่งบาร์โค้ดมายังตัวรับแสง
2. ภายในเครื่องอ่านจะมีอุปกรณ์เปลี่ยนแสงที่สะท้อนกลับมาให้กลายเป็นสัญญาณดิจิตอล ซึ่งนำมาเปรียบเทียบกับตารางบาร์โค้ดเพื่อถอดเป็นข้อมูล เช่น ตัวเลข ตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ ซึ่งระบุชื่อสินค้าและอื่น ๆ จากนั้นจะบันทึกข้อมูลในคอมพิวเตอร์โดยตรง โดยไม่ต้องกดปุ่มที่แป้นพิมพ์ สามารถอ่านข้อมูลอย่างถูกต้องแม่นยำและเชื่อถือได้
3. ระบบการอ่านบาร์โค้ดแสดงผลทั้งการอ่านข้อมูลตามปกติ และการตรวจสอบความถูกต้องของแท่งบาร์โค้ด สำหรับขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้อง หากพบข้อผิดพลาดโปรแกรมจะทำการแก้ไขและอ่านบาร์โค้ดใหม่อีกครั้ง มีความสะดวกในการจัดเก็บข้อมูล ตรวจสอบและประมวลได้อย่างแม่นยำมากขึ้น
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับรหัสแท่งมีส่วนสำคัญเพื่อให้ใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ เพราะการอ่านข้อมูลที่อาศัยหลักการสะท้อนแสงย่อมมีข้อจำกัดเหมือนกัน เครื่องอ่านบาร์โค้ดทำให้ระบบเก็บบันทึกและบริหารจัดการข้อมูลแบบอัตโนมัติ ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการทำงาน ผู้ใช้ควรระวังไม่ใช้งานในพื้นที่เปียกชื้น เพราะความชื้นมีผลให้การอ่านข้อมูลผิดพลาด หากวัตถุที่ติดฉลากบาร์โค้ดเคลื่อนที่รวดเร็วจะทำให้อ่านข้อมูลได้ยากเช่นกัน หรือถ้ามีวัตถุสิ่งอื่นปิดบังแถบบาร์โค้ดจะทำให้อ่านข้อมูลไม่ได้ ระบบบาร์โค้ดเป็นมาตรฐานสากล มีความน่าเชื่อถือ หากใช้ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมจะอำนวยความสะดวกและเกิดประโยชน์แก่ผู้ใช้งานมากที่สุด
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น